พันธุ์และพฤษศาสตร์อ้อย

ผลผลิตอ้อยและน้ำตาลไทย

2545/46 2546/47
ผลผลิตอ้อย(ล้านตัน) 74.07 64.42
อ้อยไฟไหม้ (%) 60.02 44.20
CCS 11.16 12.07
น้ำตาล(กก./ตันอ้อย) 98.57 108.09

ลักษณะที่ใช้ในการจำแนกพันธุ์อ้อย

  1. อายุของอ้อย
  2. สีของลำต้น
  3. รอยแตกของลำและร่องตา
  4. ข้อและปล้อง
  5. ตา
  6. ลักษณะใบ
  7. ลักษณะอื่นๆ เช่น พ่อแม่พันธุ์ การเจริญเติบโต

ประเภทของพันธุ์อ้อย มี 3 ประเภท

  1. พันธุ์เบา
  2. พันธุ์กลาง
  3. พันธุ์หนัก

พันธุ์อ้อยที่นิยมปลูกในประเทศไทย

  • เค 84-200 40-50 %
  • อู่ทอง 1 7-10 %
  • อู่ทอง 3 6-9 %

พฤกษศาสตร์ของอ้อย

โครงสร้างของอ้อยแบ่งได้ 4 ส่วน

ลำต้น (stem)

  • ตอหรือเหง้า
  • ข้อ (node)
    • รอยกาบใบ(leaf scar)
    • ข้อปล้อง (joint)
    • รูปร่างปล้อง
      • ทรงกระบอก : เอฟ 140 , คิว 83
      • มัดข้าวต้ม : พินคาร์, เค 84-200
      • กลางคอด : เค 76-4, เค 92-80
      • โคนใหญ่ (กรวยคว่ำ) : พง
      • ปลายใหญ่(กรวยหงาย) : คิว 83

บริเวณข้อ

  • วงไข (wax ring)
  • บริเวณเกิดราก (root band)
  • ปุ่มราก (root primodia)
  • วงเจริญ (growth ring)
  • ตา (bud) :กลม รี ยอดแหลม เหลี่ยม
  • ร่องตา (bud furrow)

บริเวณปล้อง

  • รอยแตกตื้น (corky หรือ ivory marking)
  • เค 84-200
  • รอยแตกลึก (growth crack) :- พินดาร์
  • รอยตกสะเก็ด (corky patch)

ราก

  • ระบบรากฝอย (fibrous root system)
  • รากชุกแรก (primary root)
  • รากชุดที่สอง (secondary root)

รากอ้อยมี 3 ชนิด

  • รากชนิดเเรก (superficial roots)
  • รากชนิดที่สอง (buttress roots)
  • รากชนิดที่สาม (deep roots)

ใบ

  • แผ่นใบ (leaf base)
  • กาบใบ (leaf sheath)
    • กลุ่มขน (hair group)
    • คอใบ (dewlap)
    • หูใบ (auricle)
    • ลิ้นใบ (ligule)

ดอก

  • ช่อดอก (arrow หรือ tassel)
  • แกนกลาง (rachis)
  • ก้านแขนง (branch)
  • ดอก (spiklet)
    • ดอกมีก้าน (pedicelled spiklet)
    • ดอกไม่มีก้าน (sessille spiklet)
      • ดอกย่อย (floret)
      • อับเกสร (anther)

ระยะการเจริญเติบโตและความต้องการปัจจัยต่างๆ

  • ระยะงอก (Germination phase) 2-3 เดือน
  • ระยะแตกกอ (Tillering phase) 2-4 เดือน
  • ระยะย่างปล้อง (Elongation phase) 3-4 เดือน
  • ระยะสุกแก่ (Matuarity and ripening phase)