อนาคตพันธุ์อ้อย

พันธุ์อ้อยที่ส่งเสริมอยู่ในจังหวัดสระแก้ว

ลำดับที่ พันธุ์อ้อย ปีการผลิต 2545/46 ปีการผลิต 2546/47
1 K 84-200 46.7% 28.12%
2 023 L 8.47% 3.94%
3 UT 3 5.83% 6.79%
4 K 88-92 4.68% 5.61%
5 มาร์กอส 1.25% 1.03%
6 อื่นๆ 33.06% 54.51%
รวม 100.00% 100.00%

หมายเหตุ : คิดจากเปอร์เซ็นต์พื้นที่รับเงินส่งเสริม ปีที่ 2545/46 พื้นที่ 209,199 ไร่ (24 สายพันธุ์)
ปีที่ 2546/47 พื้นที่ 185,728 ไร่ (17 สายพันธุ์)

 

พันธุ์อ้อยที่ส่งเสริมอยู่ในจังหวัดสระแก้ว (ข้อมูลการส่งเสริมพันธุ์อ้อยปี 2547-48)

ลำดับที่ พันธุ์อ้อย พื้นที่ (ไร่) %
1 ไม่ระบุ 30,861.30 43.31
2 K 84-200 25,548.50 35.85
3 UT 3 3,888.76 5.46
4 มาร์กอส 2,314.37 3.25
5 K 90-77 1,336.40 1.88
6 K 88-92 1,324.90 1.86
7 K 88-65 1,191.68 1.67
8 LK 92-11 1,015.10 1.42
9 023 L 1,010.00 1.42
10 ฟิลิปปินส์ 838.54 1.18
11 อื่นๆ 1,929.25 2.71

 

อนาคตพันธุ์อ้อยที่ใช้ส่งเสริมในสระแก้ว

ดินเหนียว- ร่วนเหนียว
LK 92-11 , 17  K 93-256, กพส. 94-13, K 95-156 , 161 , 282 K 97-29 K 97-33

ดินทราย- ร่วนทราย
K 95-84,156 , 161 , 282, LK 92-11

ลำดับที่ ประเภทดิน จำนวนพื้นที่(ไร่) คิดเ้ป็น %
1 ทราย 12,801.10 0.30
2 ร่วนทราย 1,788,931.00 42.32
3 ร่วน 315,307.00 7.46
4 ร่วนเหนียว 442,879.30 10.48
5 เหนียว 1,662,514.00 39.33
6 อื่นๆ (แม่น้ำ) 4,306.71 0.10
รวม 4,226,740.00 100.00

หมายเหตุ : ที่มาจากข้อมูลสารสนเทศน์

 

ประเภทดินในพื้นที่ส่งเสริมจังหวัดสระแก้ว

ประเภทดิน เปอร์เซ็นต์
เหนียว 22.21
เหนียวร่วน 3.56
ร่วนเหนียว 19.96
ทรายร่วน 13.82
ร่วนทราย

19.01

ร่วนกรวด 21.44

แนวทางการใช้พันธุ์อ้อย

อ้อยเข้าหีบ 100% มาจาก 20%อ้อยข้ามแล้ง 65 % อ้อยตอ 15 % อ้อยยอด

อ้อยพันธุ์เบา หวานเร็ว อู่ทอง 1 และอู่ทองแดง
อ้อยพันธุ์เบา-กลาง เค. 86-161 เค. 88-87  เค. 90-77 เค. 93-219 เค. 93-256
อ้อยพันธุ์หนัก อู่ทอง 2  เค. 76 – 4  เค. 88-92 เค.84-200

พันธุ์อ้อยที่เหมาะสมในแต่ละประเภทดิน

ประเภทพันธุ์อ้อย พันธุ์อ้อย ผู้ผลิตพันธุ์ (แหล่งอ้างอิง)
ร่วนเหนียว -เหนียว K 95-84 ,156 ,161 ,282 กพส 94 - 13 LK 92-11 , 17 ศูนย์อุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลทรายภาคกลาง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ร่วน - ร่วนทราย K 95-84 ,156 ,161 , 282 LK 92-11

แนวทางในการศึกษาพันธุ์อ้อยในอนาคต  เพื่อให้ได้ข้อมูลที่รวดเร็ว และประหยัดงบประมาณ

ค้นคว้าข้อมูลงานวิจัย

  1. อินเตอร์เน็ต
  2. หน่วยงานราชการ  มหาวิทยาลัย
  3. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการผลิตอ้อย

ผลการศึกษางานวิจัยจากข้อมูลที่ค้นคว้าสามารถสรุปผลได้

  1. สรุปข้อมูลได้ในระยะเวลาที่สั้น
  2. ทดลองต่อยอดต้องใช้ระยะเวลา 2- 3  ปี